
มือหุ่นยนต์ที่สามารถ “หยิบจับเต้าหู้” ใช้เทคโนโลยี Load sensing
ญี่ปุ่นพัฒนามือหุ่นยนต์ที่ใช้เทคโนโลยี Load sensing ทำให้มือหุ่นยนต์สามารถหยิบจับได้อย่างนุ่มนวล แม้กระทั่งหยิบจับเต้าหู้
ญี่ปุ่นพัฒนามือหุ่นยนต์ที่ใช้เทคโนโลยี Load sensing ทำให้มือหุ่นยนต์สามารถหยิบจับได้อย่างนุ่มนวล แม้กระทั่งหยิบจับเต้าหู้
สมาพันธ์หุ่นยนต์นานาชาติ หรือ IFR ได้วิเคราะห์แนวโน้ม 5 อันดับแรกที่กำหนดรูปแบบหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติในปี 2023 ไว้อย่างไร ติดตามได้ในคลิปนี้ครับ
คลิปนี้มาเล่าให้ฟังถึงแนวทางการพัฒนาหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นเซกเมนต์นึงที่รัฐบาลญี่ปุ่นให้ความสำคัญ โดยเล็งเห็นว่า ถ้าไม่พัฒนาเทคโนโลยีหุ่นยนต์ให้ก้าวหน้าอาจต้องเสียตำแหน่งในตลาดหุ่นยนต์โลกได้
เปิดตัวครั้งแรก “Cubebox” หุ่นยนต์หยิบจับชิ้นงานอัจฉริยะกับ Mygrowtech ในงาน Manufacturing Expo 2023 วันที่ 21-24 มิถุนายนนี้ ไบเทค กรุงเทพฯ พบกันได้ที่ Hall 102 Booth 2C19
หุ่นยนต์อุตสาหกรรมเติบโต ญี่ปุ่นยังรักษายอดสั่งซื้อและยอดผลิตสูงสุดต่อเนื่องในปี 2022 แม้ยังมีความไม่แน่นอนจากสถานการณ์ระหว่างประเทศ การขาดแคลนชิ้นส่วน และอีกหลายปัญหาที่ยื้ดเยื้อ
อัปเดตเทรนด์ใหม่ของโคบอท "Cobot for heavy duty process" ที่ออกแบบให้รับน้ำหนักได้มากขึ้น โดยล่าสุดมีหุ่นยนต์ Cobot ที่รับโหลดได้มากถึง 50 kg. ซึ่งถูกยกให้เป็นสถิติสูงสุดในตอนนี้
CECIMO เผยปี 2022 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลยุโรปเพิ่มขึ้น 11% และคาดว่าปีนี้การผลิตเครื่องจักรกลจะเติบโต 8% จาก backlog สะสมร่วมปัจจัยบวกอื่น
จับตา ‘อินเดีย’ ทำสถิติยอดขายหุ่นยนต์อุตสาหกรรม 4,945 ตัวในปี 2021 เพิ่มขึ้น 54% และติดท็อป 10 ประเทศที่มีการติดตั้งหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมากที่สุด
‘ญี่ปุ่น’ ตั้งเป้าปี 2030 ผลิตเครื่องจักรกล 1.1 แสนยูนิต และหุ่นยนต์ 3.5 แสนยูนิตรับเทรนด์โลก เป้าผลิตนี้เมื่อเทียบกับปี 2021 จะเป็นการเพิ่มขึ้น 1.6 เท่า และ 1.7 เท่าตามลำดับ
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์กำลังเสนอแนวทางใหม่สำหรับการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าและแบตเตอรี่ และกระตุ้นความแพร่หลายด้วยแนวคิด Friendly Robot สู่การใช้โรบอทในภาคส่วนอื่น
IFR เผยบทวิเคราะห์แนวโน้ม 5 อันดับแรกที่กำหนดรูปแบบหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติในปี 2023 ติดตามในบทความนี้
คลิปนี้พาสำรวจ 6 ประเทศชั้นนำในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ ได้แก่ จีน, ญี่ปุ่น, สหรัฐอเมริกา, เกาหลีใต้, เยอรมนี, และอียู มีทิศทางลงทุนด้าน R&D อย่างไร ?
IFR เผยแนวทางการลงทุนวิจัยและพัฒนาหุ่นยนต์ของ 6 ประเทศหลักในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ ได้แก่ จีน, ญี่ปุ่น, สหรัฐอเมริกา, เกาหลีใต้, เยอรมนี, และอียู
ตัวเลขเบื้องต้นของปี 2022 จากสมาคมหุ่นยนต์ญี่ปุ่นประเมินว่า ยอดสั่งซื้อหุ่นยนต์อุตสาหกรรมจากค่ายญี่ปุ่นจะมีมูลค่าราว 8,427 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 3.6% ทุบสถิติสูงสุดอีกครั้ง และจะรักษาโมเมนตัมนี้ต่อไปอีก
เทรนด์สำคัญ 6 ด้านสำหรับปี 2023 ที่จะมากระตุ้นการใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมให้แพร่หลายยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ Cobots และ Mobile Robots ที่มีราคาถูกลง ใช้งานง่ายขึ้น
เกาหลีใต้ครองแชมป์ ประเทศที่ใช้หุ่นยนต์แทนแรงงานมากที่สุด ส่วนจีนขึ้นแท่น Top 5 สำเร็จเป็นปีแรก
ครบเครื่อง ‘โซลูชันหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ’ จาก MYGROWTECH บูธ AL01 ในงาน METALEX 2022 เปิดไฮไลต์ไลน์อัตโนมัติคัดแยกสินค้า NG โชว์ศักยภาพเทคโนโลยีที่จะพาคุณยืนแถวหน้าของการผลิตยุคใหม่
อาจกล่าวได้ว่า “ญี่ปุ่น” เป็นประเทศแห่งหุ่นยนต์ ทั้งความคิดสร้างสรรค์และสัดส่วนการผลิต ราว 40% ของหุ่นยนต์ทั่วโลกมาจากสองแบรนด์ดังของญี่ปุ่น แต่ความท้าทายในปัจจุบันทำให้น่าคิดว่า ญ…
ยอดผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรมญี่ปุ่นในไตรมาสที่ 3 ทำสถิติใหม่มูลค่าสูงสุด 223,100 ล้านเยน หรือราว 1,513 ล้านดอลลาร์ เพิ่มขึ้น 9.2% ขณะที่ยอดสั่งซื้อยังโตต่อเนื่องจากอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์
ในปีที่ผ่านมา จีนมีการผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรม 366,000 ตัว สร้างรายได้ให้แก่อุตสาหกรรมหุ่นยนต์จีนคิดเป็นมูลค่า 1.8 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งโตขึ้นถึง 11 เท่าเมื่อเทียบกับปี 2015
Chietom is a precision transmission manufacturer in China. Our mian products are CRV and CRDS series reducer. they are mainly use for arc welding machines,painting machine,high pre…